My latest images for sale at Shutterstock:

My most popular images for sale at Shutterstock:

วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

Drip Irrigation


While surface irrigation methods rely on watering the whole surface of the field and overhead irrigation leaves the plants wet and produces runoff, drip irrigation is far more controlled. Water is slowly provided to a very specific area, close to the roots of the plant, by a network of drip emitters.
drip irrigation
Photo courtesy USDA ERS
Drip Irrigation
Rain Bird GRDNER-KIT Landscape Dripline System Gardener-Foots Drip Starter Kit
Despite their name, these tiny nozzles - about the size of a quarter - don't hang above the plants and drip but are actually laid along the ground. Linked to an appropriate water source by a main feeder hose, they provide a slow and steady flow of water. An alternative to drip irrigation is trickle tape - essentially a length of hose with built in drip emitters.
drip irrigation
2008 HowStuffWorks
Drip irrigation provides water near the base of the plant, leaving the upper foliage dry and less susceptible to fungi.
The advantage to using trickle or drip irrigation is, simply, control. This method of irrigation is precise an d economical. A standard lawn sprinkler (Contech Electronics CRO101 Scarecrow Motion-Activated Sprinkler), for example, might measure the water flow in gallons per minute -- somewhere between one and five is normal. A drip emitter, on the other hand, is rated in gallons per hour. The flow of water is so slow that it is easily absorbed into the ground. In a well-tuned system there is little opportunity for excess water running off and being wasted.
And this approach can be even more fine-tuned by going underground.

sprinkler
  









drip irrigation


   














Books

     














  

Surface-Irrigation


Surface Irrigation is arguably the least complex form of irrigation. At its simpl est, no attempt is made to stop fields from naturally flooding. In general, this is only suitable in situations where the crop is of little value, or where the field will be used only for grazing or even recreation. Of course, while this method is simple and easy, it is totally dependent upon a suitable water source.
flood-tolerant soybeans
Photo courtesy USDA ARS
Flood-tolerant soybeans from southeastern China
A more refined variation, though still reliant on a plentiful supply of water, is basin irrigation. Closely-spaced crops with deep roots are particularly suited to this method, and the growing of rice in paddy fields is an example familiar to most of us. The basin referred to is simply a field, enclosed with a raised bank, or dike, to contain the water. The water is directed into the field by various channels and pipelines, or may even be brought in manually. Two extremely old methods use these devices:
  • A shaduf is an uncomplicated apparatus consisting of a bucket, raised and lowered by a simple lever.
  • sakia consists of a geared wheel of a circular chain of buckets turned by an animal, such as a horse or mule.
By whatever method, the water is transported to the channels where it floods the field, causing a deep layer of mud to form in the bottom of the basin. In the case of rice, fresh seedlings are planted in this rich and fertile mud, and in September or October the mature rice is harvested, dried and stored.
furrow irrigation
Photo courtesy USDA ERS
Furrow irrigation
Border irrigation is similar, but in this case the field is not entirely enclosed by a dike. Instead, it is watered from one end and allowed to drain from the other. Border irrigation works well with sloping land, as does furrow irrigation, in which the water is further controlled by the use of channels within the field itself. Water is directed along these channels, and by controlling the flow of water into each channel, the farmer can control the amount of water in different portions of the field surface.
furrow irrigation
Photo courtesy USDA ERS
Special furrow systems like these enhance water management. Wide-spaced furrows work like alternative-row irrigation, except that every row is irrigated and the rows are further apart.

Economics of Land Development in Canal Commands: A Study of Surface Irrigation Systems in Kerala, India


The surface irrigation manual: A comprehensive guide to design and operation of surface irrigation systems


Guidelines for Designing and Evaluating Surface Irrigation Systems (Fao Fisheries Technical Paper)


Automated Farm Surface Irrigation Systems Worldwide


SURFACE AND SUBSURFACE DRIP IRRIGATION: Impacts on Soil Moisture and its Distribution in Irrigated Environment

วันศุกร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553

สภาพภูมิประเทศและระบบลำน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำยม

สภาพภูมิประเทศลุ่มน้ำยม บริเวณพื้นที่ตอนบนแม่น้ำยมในเขตอำเภอปง จังหวัดพะเยา มีสภาพเป็นเทือกเขาสูงตามลำน้ำอยู่ระหว่างระดับ 280-360 ม.รทก. โดยมีความลาดชันประมาณ 1:310 ต่อจากนั้น แม่น้ำยมไหลผ่านที่ราบเชิงเขาในเขต อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา และอำเภอสอง จังหวัดแพร่ มีระดับความสูงที่ 180-280 ม.รทก. ความลาดชันตามท้องน้ำประมาณ 1:1,180 แม่น้ำยมไหลผ่านพื้นที่ราบหุบเขาในเขตพื้นที่ส่วนใหญ่ของ จังหวัดแพร่ และจังหวัดสุโขทัย ระดับความสูงของพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำอยู่ที่ระดับ 50-180 ม.รทก. โดยมีความลาดชันประมาณ 1:2,100 พื้นที่ตอนล่างแม่น้ำยมเป็นที่ราบในเขต อำเภอสวรรคโลก อำเภอศรีสำโรง อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก อำเภอสามง่าม อำเภอโพธิ์ประทับช้าง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตรและพื้นที่อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ มีระดับความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 20-50 ม.รทก. ความลาดชันตามลำน้ำประมาณ 1:8,500
          ลำน้ำสาขาที่สำคัญประกอบด้วย ลำน้ำงาว ไหลมาบรรจบกับแม่น้ำยมในเขตจังหวัดแพร่  น้ำแม่สองบรรจบกับแม่น้ำยมที่อำเภอสอง  จังหวัดแพร่  แม่น้ำรำพัน บรรจบกับแม่น้ำยมที่อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย  แม่น้ำพิจิตรบรรจบกับแม่น้ำยมที่บ้านบางคลาน อำเภอโพทะเล  จังหวัดพิจิตร  
ขนาดพื้นที่รับน้ำของแต่ละพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำยม
รหัสลุ่มน้ำย่อย
ชื่อลุ่มน้ำย่อย
พื้นที่รับน้ำ (ตร.กม.)
08.02
แม่น้ำยมตอนบน
1,978
08.03
แม่น้ำควน
858
08.04
น้ำปี้
636
08.05
แม่น้ำงาว
1,644
08.06
แม่น้ำยมตอนกลาง
2,884
08.07
น้ำแม่คำมี
444
08.08
น้ำแม่ต้า
518
08.09
ห้วยแม่สิม
522
08.10
น้ำแม่หมอก
1,333
08.11
น้ำแม่รำพัน
895
08.12
แม่น้ำยมตอนล่าง
11,906
ที่มา : กรมชลประทาน (2546)

สภาพภูมิประเทศและระบบลำน้ำของพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน

    สภาพภูมิประเทศของลุ่มน้ำน่าน มีรูปร่างคล้ายขนนก คือ แคบและเรียวยาว มีต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาหลวงพระบาง อันเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนลาว สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง  ความสูงในพื้นที่ริมแม่น้ำอยู่ที่ระดับความสูงกว่า 220  ม.รทก. ความลาดชันประมาณ 1:480 ในเขตอำเภอทุ่งช้างและอำเภอเชียงกลาง จากนั้นแม่น้ำน่านไหลลงสู่ที่ราบและหุบเขาในเขตอำเภอเมือง อำเภอเวียงสา   จังหวัดน่าน โดยมีลำน้ำสาขาหลายสายไหลมาบรรจบ เช่น น้ำว้า น้ำยาว น้ำแหง ฯลฯ พื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ราบสูงมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 180-220  ม.รทก. มีความลาดชันประมาณ 1:3,500 จากนั้นแม่น้ำน่าน จะไหลผ่านเขตอำเภอเวียงสา  ผ่านหุบเขาลงสู่เขื่อนสิริกิติ์ โดยมีความลาดชันมากขึ้นเป็น 1:5,300 ก่อนลงสู่พื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนล่าง มีลักษณะเป็นภูเขาสูงในฝั่งตะวันออกและลาดเทลงสู่ตะวันตก ซึ่งเป็นที่ราบกว้างใหญ่ ตั้งแต่ใต้เขื่อนทดน้ำนเรศวร ลงไปจนถึงจังหวัดนครสวรรค์มีระดับเฉลี่ยประมาณ 27 ม.รทก. โดยมีความลาดชันลำน้ำลดลงเหลือประมาณ  1:13,600
                 ลำน้ำสาขาที่สำคัญประกอบด้วย น้ำว้า มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาหลวงพระบางไหลมาบรรจบทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำน่านที่อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน  น้ำปาด ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาสายใหญ่ มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาหลวงพระบางเช่นกัน ไหลมาบรรจบทางฝั่งซ้าย ที่จังหวัดอุตรดิตถ์   แม่น้ำแควน้อย ลำน้ำสาขาที่ใหญ่ที่สุด ไหลมาบรรจบที่อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก  และแม่น้ำวังทอง ไหลมาบรรจบทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำน่านที่อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิจิตร  
  ขนาดพื้นที่รับน้ำของแต่ละพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำน่าน 
รหัสลุ่มน้ำย่อย
ชื่อลุ่มน้ำย่อย
พื้นที่รับน้ำ (ตร.กม.)
09.02
แม่น้ำน่านตอนบน
2,265
09.03
ห้วยน้ำยาว (1)
863
09.04
แม่น้ำน่านส่วนที่ 2
1,501
09.05
น้ำยาว (2)
600
09.06
น้ำสมุน
620
09.07
แม่น้ำน่านส่วนที่ 3
3,364
09.08
น้ำสา
753
09.09
น้ำว้า
2,233
09.10
น้ำแหง
1,034
09.11
แม่น้ำน่านส่วนที่ 4
2,613
09.12
น้ำปาด
2,505
09.13
คลองตรอน
1,270
09.14
แม่น้ำแควน้อย
4,490
09.15
น้ำภาค
987
09.16
แม่น้ำวังทอง
2,005
09.17
แม่น้ำน่านตอนล่าง
7,228
ที่มา : กรมชลประทาน (2546)

โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก

เนื่องจากผลผลิตข้าว และการเพิ่มของพลเมือง ไทยมีอัตราส่วนใกล้เคียงกันมาก จึงจำเป็นต้องเร่งปรับปรุงพื้นที่เพาะปลูกที่มีอยู่แล้ว ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ซึ่งแหล่งผลิตข้าวส่วนใหญ่ได้มาจากทุ่งราบเจ้าพระยา ดังนั้น กรมชลประทานจึงได้วางแผนพัฒนาแควทั้ง 4 ของแม่น้ำเจ้าพระยา คือ ปิง วัง ยม และน่าน
กรมชลประทานได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาลุ่มน้ำน่าน โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 โครงการเขื่อนสิริกิติ์
ระยะที่ 2 โครงการชลประทานพิษณุโลก
ระยะที่ 3 โครงการชลประทานอุตรดิตถ์
” โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก” ใช้แหล่งน้ำต้นทุนจากเขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ กรมชลประทานก่อสร้าง โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก ระหว่างปี พ.ศ. 2513-2528 ประกอบด้วย การก่อสร้างเขื่อนทดน้ำ และ ระบบชลประทาน ดังนี้
เขื่�นนเรศวร
เขื่อนนเรศวร
- ก่อสร้าง ” เขื่อนนเรศวร ” ซึ่งเป็นเขื่อนทดน้ำกั้นแม่น้ำน่าน สามารถระบายน้ำผ่านเขื่อนสูงสุด 1,550 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ตั้งอยู่ที่อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก อยู่ห่างจากท้ายเขื่อนสิริกิติ์เป็นระยะทางตามแนวแม่น้ำน่าน ประมาณ 176 กิโลเมตร ทำหน้าทดน้ำในแม่น้ำน่านให้มีระดับสูงขึ้น เพื่อให้น้ำจากแม่น้ำไหลเข้าสู่คลองส่งน้ำสายใหญ่ ส่งไปตามระบบชลประทาน
- ก่อสร้าง ” ระบบชลประทาน ” บนพื้นที่ฝั่งซ้ายและฝั่งขวาของแม่น้ำน่าน ซึ่งมีการก่อสร้างคลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวาของแม่น้ำน่าน มีประตูระบายน้ำปากคลองส่งน้ำสายใหญ่ โดยมีเขื่อนนเรศวรทำหน้าที่ทดน้ำเข้าประตูระบายน้ำปากคลอง ซึ่งคลองส่งน้ำสายใหญ่มีความยาว 175 กิโลเมตร ตั้งแต่จุดที่ตั้งเขื่อนนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ลงมาถึง อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์
ระบบชลประทานคลอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม จำนวน 667,100 ไร่ ประกอบด้วย 4 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา คือ โครงการฯ เขื่อนนเรศวร, พลายชุมพล, ดงเศรษฐี และ โครงการฯ ท่าบัว